บ้านเหล็กขนาดพอดี ที่มีกลิ่นอายของสถาปัตยกรรมเมืองร้อน

บ้านขนาดพอดีหลังนี้ เป็นบ้านของครอบครัวสมัยใหม่ ที่ต้องการความแตกต่าง ในนิยามของคำว่าบ้านที่เคยเป็น โดยเจ้าของบ้านได้เลือก Sute Architect มาเป็นผู้ออกแบบงานสถาปัตยกรรมและตกแต่งภายในให้ และบทสรุปของบ้านเหล็กโมเดิร์นนี้จะเป็นอย่างไร ลองไปชมกันครับ

Flagship Building อาคารโครงสร้างเหล็กภายใต้แนวคิดการพึ่งพิงธรรมชาติ

ข้อดีหนึ่งที่หลายท่านน่าจะรู้จักกันดีเกี่ยวกับงานก่อสร้างอาคารด้วยเหล็ก คือความรวดเร็วในการก่อสร้าง ทว่าความเร็วที่ว่านั้น แค่ไหนกันที่เรียกว่าเร็ว การใช้เหล็กในการก่อสร้าง จะช่วยให้สร้างอาคารได้เร็วอย่างมีนัยสำคัญแค่ไหนและอย่างไร

Kloem Hostel รีโนเวทบ้านไม้เก่าเป็นโฮสเทลด้วยโครงสร้างเหล็ก

เพื่ออนุรักษ์ความดั้งเดิมและเรื่องราวความเป็นมาเป็นไปของอาคาร การรีโนเวทอาคารเพื่อใช้งานใหม่จึงจำเป็นมากกว่าการรื้ออาคารทิ้งและสร้างใหม่สถานเดียว เหล็กรูปพรรณรีดร้อน จึงเข้ามามีบทบาทช่วยในการปรับปรุงอาคารในส่วนนี้ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากกว่าหลายวัสดุโครงสร้างอื่นในหลายมิติ

Pasang คาเฟ่เหล็กในท่ามกลางธรรมชาติพิสุทธิ์

ภาคเหนือของไทยนั้นไม่เคยขาดผู้คนจากต่างถิ่น ด้วยการเป็นพื้นที่ที่เต็มไปด้วยสถานที่ท่องเที่ยวตากอากาศ “Pasang” คาเฟ่ชื่อเดียวกับที่ตั้งของหมู่บ้านป่าซางวิวัฒน์ อำเภอนางแล จังหวัดเชียงราย ก็เป็นอีกสถานที่ที่เปิดต้อนรับผู้คนแปลกหน้า

Balance of house : ครึ่งเหล็กครึ่งปูน ความลงตัวของบ้านหลังย่อม ออกแบบโดย PIJIC Architect

เพราะการออกแบบที่ลงตัวและให้ความสำคัญในการแก้ปัญหา ทำให้การอยู่อาศัยดีขึ้นได้จริงๆ เช่นเดียวกับบ้านหลังนี้ที่จังหวัดเชียงใหม่ ออกแบบโดย คุณแซม – ศรายุทธ ใจคำปัน สถาปนิกจาก PIJIC Architect ตั้งใจออกแบบให้บ้านหลังนี้เต็มไปด้วยไออุ่นของความน่าอยู่ เป็นบ้านหลังเล็กๆซึ่งมีรายละเอียดหลายจุดที่ทำให้บ้านอยู่สบาย

บ้านลอยลม บ้านเหล็กที่ประสานเข้ากับวิถีชีวิตสงบสุขได้ลงตัว

ในปัจจุบัน บ้านโครงสร้างเหล็กรูปพรรณรีดร้อน เริ่มเป็นที่นิยมมากขึ้นเรื่อยๆ และด้วยข้อดีหลายอย่าง บ้านโครงสร้างเหล็กรูปพรรณรีดร้อนจึงเริ่มมีบทบาทแทนที่บ้านระบบโครงสร้างอื่น โดยเฉพาะบ้านที่อยู่ในพื้นที่ที่ไกลออกไปกว่าแหล่งเมือง ต้องมีการขนส่งวัสดุไกลกว่าปกติ หรือบ้านที่ต้องการรักษาสภาพแวดล้อมให้สะอาดสวยงาม

5 สิ่งควรรู้ ก่อนเดินงานระบบไฟฟ้าสำหรับงานโครงสร้างเหล็ก

5 ข้อควรคำนึงที่ควรรู้ก่อนติดตั้งงานระบบไฟฟ้าในบ้านที่มีโครงสร้างเหล็กรูปพรรณรีดร้อนเป็นโครงสร้างหลัก เพื่อความเป็นระเบียบเรียบร้อยและความปลอดภัยในบ้านของทุกคน

มีอะไร Update ใน มอก. เหล็กโครงสร้างรูปพรรณรีดร้อนกันบ้าง

ในวันที่ 15 มีนาคม 2560  สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม หรือ สมอ. จะเริ่มบังคับใช้มาตรฐานเหล็กโครงสร้างรูปพรรณรีดร้อน “” มอก.1227 – 2558″ ” แต่ก่อนจะไปทราบถึงการปรับปรุงในมาตรฐานใหม่ฉบับนี้ ลองมาดู Timeline ของมาตราฐานเหล็กโครงสร้างรูปพรรณรีดร้อน ที่ทาง สมอ. ได้พัฒนาอย่างต่อเนื่องกันครับ

CLASS Café Buriram คาเฟ่เหล็กมากเอกลักษณ์ ณ จังหวัดบุรีรัมย์

หนึ่งในเหตุผลที่คนนิยมเลือกใช้เหล็กรูปพรรณรีดร้อนสร้างอาคารหรือบ้านพักอาศัย คือความคุ้มค่าทั้งเวลาและทรัพยากร โดยเฉพาะอาคารเชิงพาณิชย์ ที่ต้องการการคุ้มทุนที่รวดเร็วหรือมีระยะเวลาจำกัดในการก่อสร้าง เราจะพบว่าหลายโครงการนั้นนิยมใช้เหล็กรูปพรรณรีดร้อน ในการควบคุมเวลาและงบประมาณการก่อสร้างที่มีอยู่จำกัดเสมอ

รู้ยัง! ใช้ SM520 ไม่ผิด พรบ.ควบคุมอาคาร

วิศวกรหลายๆคนอาจจะเข้าใจผิดเกี่ยวกับ การเลือกใช้งาน เหล็กโครงสร้างรูปพรรณ ว่าห้ามใช้ ค่ากำลังคราก ( Yieid Strength ) ไม่เกิน 240 เมกาปาสกาล (2,400 กิโลกรัมแรงต่อตารางเซนติเมตร) ในการออกแบบอาคารโครงสร้างเหล็ก ซึ่งขัดแย้งกับ มาตรฐาน มอก 1227 – 2558 และ มอก. เหล็กรูปพรรณ ฉบับอื่นๆ ว่า ผู้ผลิตสามารถผลิตเหล็กได้หลากหลาย ชั้นคุณภาพ